มีสัตว์ประเภทหนึ่งที่คอยเฝ้าอยู่หน้าวิหารหรือศาสนสถาน ซึ่งมีลักษณะแปลกตา ไม่ใคร่ได้เห็นกันบ่อยนัก ส่วนใหญ่จะพบตามบันไดวัดหรือศาสนสถานแถบทางเหนือ โดยปั้นจากปูน หรือแกะด้วยไม้ บางครั้งยังพบเป็นภาพจิตรกรรมตามฝาผนัง หรือทำเป็นลายปูนปั้นในวัดบางแห่ง ซึ่งเราเรียกว่า "มอม" ลักษณะของ "มอม" จะดูไม่ค่อยเหมือนสัตว์ที่เรารู้จักกันทั่วไป บางแห่งทำเป็นรูปแมวผสมสิงโต บางแห่งทำหน้าตาคล้ายสุนัขพันธุ์ปักกิ่ง หรือมีกระทั่งหางเป็นปลาโลมา ลำตัวเป็นเกล็ดตะมีสัตว์ประเภทหนึ่งที่คอยเฝ้าอยู่หน้าวิหารหรือศาสนสถาน ซึ่งมีลักษณะแปลกตา ไม่ใคร่ได้เห็นกันบ่อยนัก ส่วนใหญ่จะพบตามบันไดวัดหรือศาสนสถานแถบทางเหนือ โดยปั้นจากปูน หรือแกะด้วยไม้ บางครั้งยังพบเป็นภาพจิตรกรรมตามฝาผนัง หรือทำเป็นลายปูนปั้นในวัดบางแห่ง ซึ่งเราเรียกว่า "มอม"
ลักษณะของ "มอม" จะดูไม่ค่อยเหมือนสัตว์ที่เรารู้จักกันทั่วไป บางแห่งทำเป็นรูปแมวผสมสิงโต บางแห่งทำหน้าตาคล้ายสุนัขพันธุ์ปักกิ่ง หรือมีกระทั่งหางเป็นปลาโลมา ลำตัวเป็นเกล็ดตะปุ่มตะป่ำคล้ายหนังกิ้งก่า ซึ่งอาจสรุปได้ว่า มอมเป็นสัตว์ในจินตนาการซึ่งผสมจากสัตว์ต่างๆ มีสี่ขา เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลทางด้านศิลปะจากจีน ก่อนที่จะมาผสมผสานกับศิลปะพื้นเมือง พจนานุกรมล้านนาบางฉบับให้ความหมายไว้ว่า มอมเป็นสัตว์ผสมระหว่างสิงโตกับลิง มีแขนยาวคล้ายค่าง บางทีเรียกเสือดำ ซึ่งเสือดำนั้นเข้าใจว่าเป็นสัตว์ต่างชนิดกันกับ "มอม" ที่เฝ้าวัด
ตัว "มอม" จะปรากฏบทบาทเบื้องแรกในตำนานทางเหนือเกี่ยวกับการขอฝน โดยทำหน้าที่เป็นพาหนะของเทวบุตรองค์หนึ่ง ชื่อ เทพปัชชุนนเทวบุตร ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งเมฆและฝน ปรากฏในคัมภีร์มหาสมัยสูตร ระบุว่า เป็นเทพในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา โดยเป็นเทวะบริวารของพระวรุณ ในคราวที่แคว้นโกศลเกิดความกันดาร พระพุทธองค์ทรงเปล่งพุทธโองการให้ปรชันยะเทวบุตรหรือปัชชุนนเทวบุตร นำฝนให้มาตก หรือในมัจฉาชาดก
เมื่อพระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็นมัจฉา เทพองค์นี้ก็มีบทบาททำให้ฝนตกลงมา แม้แต่องค์อัครสาวกพระอานนท์ยังเคยเสวยชาติเป็นปัชชุนนเทวบุตร ดังนั้น ชาวล้านนาจึงมีประเพณีขอฝนโดยนำตัวมอมที่แกะสลักจากไม้นำขึ้นเสลี่ยงแห่ขอฝน แล้วใช้น้ำสาดให้ตัวมอมเปียกชื้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ สมัยก่อนตามวัดทางเหนือจะแกะตัวมอมจากไม้ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดเท่าแมว แล้วลงรักทาด้วยชาดแดงอย่างสวยงาม ซึ่งการแห่มอมดังกล่าวอาจเป็นต้นเค้าของการแห่นางแมว เนื่องจากแมวมีลักษณะใกล้เคียงกับมอมมาก และภายหลังก็หามอมที่แกะเพื่อใช้ในพิธีขอฝนยากขึ้นทุกที เพราะคนไม่ค่อยรู้จัก
ตัวมอม ยังปรากฏในลายสักตามต้นขาและท้องของกลุ่มลาวพุงดำ ที่กระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของไทย โดยเชื่อว่าจะทำให้เกิดความน่าเกรงขามแก่ผู้อื่น และยังปรากฏเป็นงานปั้นปูนในภาคอีสาน โดยคนอีสานจะเรียกว่า "สิงห์มอม" โดยมีความเชื่อว่า มอมเป็นสัตว์ที่ทรงฤทธานุภาพ แข็งแรง ทรงกำลังมหาศาล เป็นเหตุให้ลืมตัว
เมื่อลงมายังมนุษยโลกก็แสดงอำนาจไปทั่ว กิเลสดังกล่าวทำให้มอมไม่สามารถกลับขึ้นไปยังสวรรค์อันเป็นที่สถิตของเทวบุตรได้ เทพปัชชุนนะจึงสั่งให้มาเฝ้าพุทธสถานเพื่อรับฟังพระธรรมคำสอนเป็นเนืองนิจ จนกว่าจะละกิเลสคือความทะนงตน และเข้าใจในพระธรรมจึงจะกลับไปสถิตเป็นเทพพาหนะบนวิมานชั้นฟ้าต่อไป ขณะที่อยู่ในโลกมนุษย์ มอมก็พยายามสร้างประโยชน์สุขให้กับมนุษยโลก เพื่อเพิ่มบุญเพิ่มกุศลโดยเป็นตัวกลางเพื่อขอให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล
ในบ้านเราจะพบตัวมอมได้หลายแห่ง เช่น ที่วิหารและหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่, หน้าวิหารด้านหลังองค์พระธาตุ วัดพระธาตุดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ หรือบนลายปิดทองล่องชาดของวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ บางแห่งเป็นรูปเทวบุตรเหยียบบนตัวมอม ซึ่งล้วนแล้วแต่มีเอกลักษณ์แตกต่างกันไป ที่สำคัญคือ ยังมีคนสับสนคิดว่า "ตัวมอม" เป็นสัตว์ชนิดเดียวกับตัวมกรหรือเหรา ที่เฝ้าอยู่ตรงราวบันไดศาสนสถาน แต่จริงๆ แล้ว เป็นสัตว์ในจินตนาการต่างชนิด ต่างประเภท และมีศิลปะต่างกันอย่างเห็นได้ชัดครับผม
ปุ่มตะป่ำคล้ายหนังกิ้งก่า ซึ่งอาจสรุปได้ว่า มอมเป็นสัตว์ในจินตนาการซึ่งผสมจากสัตว์ต่างๆ มีสี่ขา เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลทางด้านศิลปะจากจีน ก่อนที่จะมาผสมผสานกับศิลปะพื้นเมือง พจนานุกรมล้านนาบางฉบับให้ความหมายไว้ว่า มอมเป็นสัตว์ผสมระหว่างสิงโตกับลิง มีแขนยาวคล้ายค่าง บางทีเรียกเสือดำ ซึ่งเสือดำนั้นเข้าใจว่าเป็นสัตว์ต่างชนิดกันกับ "มอม" ที่เฝ้าวัด ตัว "มอม" จะปรากฏบทบาทเบื้องแรกในตำนานทางเหนือเกี่ยวกับการขอฝน โดยทำหน้าที่เป็นพาหนะของเทวบุตรองค์หนึ่ง ชื่อ เทพปัชชุนนเทวบุตร ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งเมฆและฝน ปรากฏในคัมภีร์มหาสมัยสูตร ระบุว่า เป็นเทพในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา โดยเป็นเทวะบริวารของพระวรุณ ในคราวที่แคว้นโกศลเกิดความกันดาร พระพุทธองค์ทรงเปล่งพุทธโองการให้ปรชันยะเทวบุตรหรือปัชชุนนเทวบุตร นำฝนให้มาตก หรือในมัจฉาชาดก เมื่อพระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็นมัจฉา เทพองค์นี้ก็มีบทบาททำให้ฝนตกลงมา แม้แต่องค์อัครสาวกพระอานนท์ยังเคยเสวยชาติเป็นปัชชุนนเทวบุตร ดังนั้น ชาวล้านนาจึงมีประเพณีขอฝนโดยนำตัวมอมที่แกะสลักจากไม้นำขึ้นเสลี่ยงแห่ขอฝน แล้วใช้น้ำสาดให้ตัวมอมเปียกชื้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ สมัยก่อนตามวัดทางเหนือจะแกะตัวมอมจากไม้ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดเท่าแมว แล้วลงรักทาด้วยชาดแดงอย่างสวยงาม ซึ่งการแห่มอมดังกล่าวอาจเป็นต้นเค้าของการแห่นางแมว เนื่องจากแมวมีลักษณะใกล้เคียงกับมอมมาก และภายหลังก็หามอมที่แกะเพื่อใช้ในพิธีขอฝนยากขึ้นทุกที เพราะคนไม่ค่อยรู้จัก ตัวมอม ยังปรากฏในลายสักตามต้นขาและท้องของกลุ่มลาวพุงดำ ที่กระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของไทย โดยเชื่อว่าจะทำให้เกิดความน่าเกรงขามแก่ผู้อื่น และยังปรากฏเป็นงานปั้นปูนในภาคอีสาน โดยคนอีสานจะเรียกว่า "สิงห์มอม" โดยมีความเชื่อว่า มอมเป็นสัตว์ที่ทรงฤทธานุภาพ แข็งแรง ทรงกำลังมหาศาล เป็นเหตุให้ลืมตัว เมื่อลงมายังมนุษยโลกก็แสดงอำนาจไปทั่ว กิเลสดังกล่าวทำให้มอมไม่สามารถกลับขึ้นไปยังสวรรค์อันเป็นที่สถิตของเทวบุตรได้ เทพปัชชุนนะจึงสั่งให้มาเฝ้าพุทธสถานเพื่อรับฟังพระธรรมคำสอนเป็นเนืองนิจ จนกว่าจะละกิเลสคือความทะนงตน และเข้าใจในพระธรรมจึงจะกลับไปสถิตเป็นเทพพาหนะบนวิมานชั้นฟ้าต่อไป ขณะที่อยู่ในโลกมนุษย์ มอมก็พยายามสร้างประโยชน์สุขให้กับมนุษยโลก เพื่อเพิ่มบุญเพิ่มกุศลโดยเป็นตัวกลางเพื่อขอให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล ในบ้านเราจะพบตัวมอมได้หลายแห่ง เช่น ที่วิหารและหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่, หน้าวิหารด้านหลังองค์พระธาตุ วัดพระธาตุดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ หรือบนลายปิดทองล่องชาดของวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ บางแห่งเป็นรูปเทวบุตรเหยียบบนตัวมอม ซึ่งล้วนแล้วแต่มีเอกลักษณ์แตกต่างกันไป ที่สำคัญคือ ยังมีคนสับสนคิดว่า "ตัวมอม" เป็นสัตว์ชนิดเดียวกับตัวมกรหรือเหรา ที่เฝ้าอยู่ตรงราวบันไดศาสนสถาน แต่จริงๆ แล้ว เป็นสัตว์ในจินตนาการต่างชนิด ต่างประเภท และมีศิลปะต่างกันอย่างเห็นได้ชัดครับผม ากสัตว์ต่างๆ มีสี่ขา เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลทางด้านศิลปะจากจีน ก่อนที่จะมาผสมผสานกับศิลปะพื้นเมือง พจนานุกรมล้านนาบางฉบับให้ความหมายไว้ว่า มอมเป็นสัตว์ผสมระหว่างสิงโตกับลิง มีแขนยาวคล้ายค่าง บางทีเรียกเสือดำ ซึ่งเสือดำนั้นเข้าใจว่าเป็นสัตว์ต่างชนิดกันกับ "มอม" ที่เฝ้าวัด ตัว "มอม" จะปรากฏบทบาทเบื้องแรกในตำนานทางเหนือเกี่ยวกับการขอฝน โดยทำหน้าที่เป็นพาหนะของเทวบุตรองค์หนึ่ง ชื่อ เทพปัชชุนนเทวบุตร ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งเมฆและฝน ปรากฏในคัมภีร์มหาสมัยสูตร ระบุว่า เป็นเทพในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา โดยเป็นเทวะบริวารของพระวรุณ ในคราวที่แคว้นโกศลเกิดความกันดาร พระพุทธองค์ทรงเปล่งพุทธโองการให้ปรชันยะเทวบุตรหรือปัชชุนนเทวบุตร นำฝนให้มาตก หรือในมัจฉาชาดก เมื่อพระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็นมัจฉา เทพองค์นี้ก็มีบทบาททำให้ฝนตกลงมา แม้แต่องค์อัครสาวกพระอานนท์ยังเคยเสวยชาติเป็นปัชชุนนเทวบุตร ดังนั้น ชาวล้านนาจึงมีประเพณีขอฝนโดยนำตัวมอมที่แกะสลักจากไม้นำขึ้นเสลี่ยงแห่ขอฝน แล้วใช้น้ำสาดให้ตัวมอมเปียกชื้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ สมัยก่อนตามวัดทางเหนือจะแกะตัวมอมจากไม้ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดเท่าแมว แล้วลงรักทาด้วยชาดแดงอย่างสวยงาม ซึ่งการแห่มอมดังกล่าวอาจเป็นต้นเค้าของการแห่นางแมว เนื่องจากแมวมีลักษณะใกล้เคียงกับมอมมาก และภายหลังก็หามอมที่แกะเพื่อใช้ในพิธีขอฝนยากขึ้นทุกที เพราะคนไม่ค่อยรู้จัก ตัวมอม ยังปรากฏในลายสักตามต้นขาและท้องของกลุ่มลาวพุงดำ ที่กระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของไทย โดยเชื่อว่าจะทำให้เกิดความน่าเกรงขามแก่ผู้อื่น และยังปรากฏเป็นงานปั้นปูนในภาคอีสาน โดยคนอีสานจะเรียกว่า "สิงห์มอม" โดยมีความเชื่อว่า มอมเป็นสัตว์ที่ทรงฤทธานุภาพ แข็งแรง ทรงกำลังมหาศาล เป็นเหตุให้ลืมตัว เมื่อลงมายังมนุษยโลกก็แสดงอำนาจไปทั่ว กิเลสดังกล่าวทำให้มอมไม่สามารถกลับขึ้นไปยังสวรรค์อันเป็นที่สถิตของเทวบุตรได้ เทพปัชชุนนะจึงสั่งให้มาเฝ้าพุทธสถานเพื่อรับฟังพระธรรมคำสอนเป็นเนืองนิจ จนกว่าจะละกิเลสคือความทะนงตน และเข้าใจในพระธรรมจึงจะกลับไปสถิตเป็นเทพพาหนะบนวิมานชั้นฟ้าต่อไป ขณะที่อยู่ในโลกมนุษย์ มอมก็พยายามสร้างประโยชน์สุขให้กับมนุษยโลก เพื่อเพิ่มบุญเพิ่มกุศลโดยเป็นตัวกลางเพื่อขอให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล ในบ้านเราจะพบตัวมอมได้หลายแห่ง เช่น ที่วิหารและหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม จ.เชียงใหม่, หน้าวิหารด้านหลังองค์พระธาตุ วัดพระธาตุดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ หรือบนลายปิดทองล่องชาดของวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ บางแห่งเป็นรูปเทวบุตรเหยียบบนตัวมอม ซึ่งล้วนแล้วแต่มีเอกลักษณ์แตกต่างกันไป ที่สำคัญคือ ยังมีคนสับสนคิดว่า "ตัวมอม" เป็นสัตว์ชนิดเดียวกับตัวมกรหรือเหรา ที่เฝ้าอยู่ตรงราวบันไดศาสนสถาน แต่จริงๆ แล้ว เป็นสัตว์ในจินตนาการต่างชนิด ต่างประเภท และมีศิลปะต่างกันอย่างเห็นได้ชัดครับผม