พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
หลวงพ่อเกษม เขมโก

สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร

(ปิดการประมูลแล้ว)

สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร


สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร

ชื่อพระ :
 สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร
รายละเอียด :
 

สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร

 
ราคาเปิดประมูล :
 40 บาท
ราคาสูงสุด ขณะนี้ :
 40 บาท
ราคาที่ต้องเพิ่มขึ้น ขั้นต่ำ :
 20 บาท

เงื่อนไขการรับประกัน :
 รับประกันความพอใจ คืนเต็ม

ผู้ตั้งประมูล :
 จำลอง พินทิสืบ
ที่อยู่ :
 119/633 ถ.ลำปาง-แม่ทะ ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำปาง 52000 ไทย

เบอร์โทรติดต่อ :
  0914789992, 0914789992
E-mail :
 ่jamlong_2009@hotmail.com

ชื่อบัญชี :
 กสิกรไทย
เลขที่ บัญชี :
 8672109877
ประเภท บัญชี :
 ออมทรัพย์
ธนาคาร :
 ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
สาขา :
 เซ็นทรัลพลาซ่า ลำปาง

วันที่ :
 Sun 4, May 2014 22:18:13
โดย : ภาสะลอง    [Feedback +35 -1] [+12 -0]   Sun 4, May 2014 22:18:13
 




 

    ขอยกเลิกรายการนี้ิ  ขอโทษครับ    ลงผิดรายการครับ   

 
โดย : ภาสะลอง    [Feedback +35 -1] [+12 -0]     [ 3 ] Sun 4, May 2014 22:23:01









 

ลูกปัดเป็นของโบราณ เครื่องประดับ หรือเครื่องรางของขลัง แต่สำหรับอาตมาเวลาที่มองไปยังลูกปัด ทำให้เกิดจินตนาการเกี่ยวกับเรื่องราวที่เป็นร่องรอยของมนุษย์ที่สวมใส่ลูก ปัดนั้น ลูกปัดบอกให้รู้จำนวนของสัตว์เลี้ยงในฝูง วัว เกาะ ช้าง ม้า ฯ จำนวนคนในเผ่า จำนวนของน้ำหนัก จำนวนระยะทาง รวมทั้งจำนวนครั้งที่พระอาทิตย์พระจันทร์ขึ้นลง พระอาทิตย์ขึ้นลงจำนวนเท่าไรฝนจึงจะตก พระอาทิตย์ขึ้นลงจำนวนเท่าไรอากาศจะหนาว พระอาทิตย์ขึ้นลงจำนวนเท่าไรอากาศจะอบอุ่น ลูกปัดคือจุดเริ่มต้นของการคำนวณทางคณิตศาสตร์หลังจากการนับนิ้ว การนับก้อนหิน การขีดรอยลงบนพื้นดิน หิน ถูกเจาะรูเพื่อเรียงร้อยให้เกิดความง่ายแก่การพกพา ลูกปัดเป็นเครื่องช่วยจำชนิดต้นๆที่มนุษย์คิดขึ้น มีเรื่องราวมากมายอยู่ในลูกปัด

ลูกปัดโบราณ ก้อนหิน ได้สัมผัสและมองมันใกล้ ๆ เต็มสองตา เราจะรู้สึกเหมือนมีพลังบางอย่างซ่อนอยู่ เชิญชวนให้จินตนาการไปว่า ใครกันเป็นคนทำมันขึ้นมา หินแบบนี้ แก้วแบบนี้มีอยู่ที่ใดในโลก พวกเขาคิดอะไรอยู่ขณะที่ขูดขีด แต่งแต้มลวดลายลงบนเนื้อหินเนื้อแก้วพวกนี้ ต้องใช้เวลากี่เดือน กว่าจะบรรจงเจาะรูเล็ก ๆ แต่ละด้านด้วยมือ จนทะลุหากันตรงกลาง แล้วมันข้ามน้ำข้ามทะเลมาอยู่แถวนี้ได้อย่างไร ใครเป็นคนนำมันเข้ามา และด้วยจุดประสงค์อันใด กว่าจะมาอยู่ในมือเรา ณ ขณะนี้ ใครเคยเป็นเจ้าของมันมาแล้วบ้าง แม้จะถูกฝังอยู่ในดินนับพัน ๆ ปี ทำไมยังมีสีสันสดใสชวนมอง
      ลูกปัดเป็นเครื่องประดับที่เก่าแก่ที่สุด และมีความหมายลึกซึ้งต่อมนุษย์มากกว่าที่เราคิดนัก ย้อนหลังไปอย่างน้อย ๔ หมื่นปี

การทำลูกปัดขึ้นจากหิน ดิน และพัฒนามาเป็นแก้ว ส่วนมาเริ่มจากดินแดนโพ้นทะเล เช่น จีน อินเดีย โรมัน และประเทศทางอาหรับ ทำให้ลูกปัดได้แพร่หลายออกไปแทบทุกประเทศ ด้วยเหตุนี้พอจะกล่าวได้ว่าลูกปัดมีบทบาทสำคัญต่อสังคมมนุษย์เรามาจนถึง ปัจจุบัน
การใช้สอยลูกปัดในอดีต พอจะแยกได้ดังนี้
-ใช้เป็นเครื่องประดับ
-ใช้เป็นเครื่องรางของขลัง หรือบางครั้งใช้ประกอบพิธีกรรม
-ใช้แทนเงินตราในการติดต่อค้าขายสมัยโบราณ
-ใช้เป็นสัญลักษณ์ในการเชื่อมความสัมพันธ์ผูกมิตรกับชนเผ่าต่างๆ
-ใช้เป็นยารักษาโรค
-ลูกปัดหินที่มีสีส้ม ทำมาจากหินคาร์เนเลี่ยน
-ลูกปัดหินสีม่วง ทำมาจากหินแอแมทิสต์
-ลูกปัดหินที่มีเส้นลายในเนื้อ ทำมาจากหินอาเกต
-ลูกปัดดิน ทำมาจากดิน
-ลูกปัดแก้ว ทำมาจากแก้วซึ่งมีสีใส แดง ดำ เขียว เหลือง ฟ้า น้ำเงิน ม่วง หรือมีหลายๆ สีในเม็ดเดียวกัน
ตองอ่อน : มีเสน่ห์
ม่วงแก้ว,ม่วงโกเมน : อารมณ์ดี สติปัญญาเฉียบแหลม
เหลือง : เมตตามหานิยม
น้ำเงิน: ชาติกษัตริย์ เสริมบารมี ลาภยศ
อิฐมันปู : กันสัตว์มีพิษกัดต่อย ไม่ตกอับ
อิฐแดง : ป้องกันของแหลมคมและสัตว์ร้าย
ฟ้า : รวย มั่งมีเงินทอง
 

 
โดย : ภาสะลอง    [Feedback +35 -1] [+12 -0]     [ 2 ] Sun 4, May 2014 22:20:20









 

เลือกโอนได้ครับ แจ้งชื่อบัญชีด้วยยิ่งดี

โอนแล้วแจ้งในกล่องข้อความ  หรือโทร โทร 081 - 2877508

จะได้จัดส่งรวดเร็ว

เชิญคลิกที่  ภาษะลอง   มีรายการตั้งประมูล ที่น่าสนใจครับ

 

 
โดย : ภาสะลอง    [Feedback +35 -1] [+12 -0]     [ 1 ] Sun 4, May 2014 22:19:23

 
ประมูล สร้อยลูกปัดหิน ใช้คล้องพระหรือโชว์หิน หินแท้ (ไม่ใช่พลาสติก) ทุนมาสูงพอควร : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.