พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
โชว์พระเกจิอาจารย์ล้านนา

เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒


เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒


เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒

   
 

เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒ การ สร้างเหรียญพระนางจามเทวีดังกล่าวเป็นความคิดริเริ่มของนายสง่า พงษ์ศิลป์ อดีตข้าราชการกรมทางรถไฟ ซึ่งขณะนั้นเป็นเขยบ้านหนองช้างคืน และโดยความเห็นชอบจากครูบาจันต๊ะ อนาวิโล ซึ่งขณะนั้นเป็นรองเจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ซึ่งทานเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีลูกศิษย์ลูกหาอยู่ทั่วไปและมีชื่อเสียงโด่ง ดังทางด้านการทำตระกรุด แจกจ่ายให้ลูกศิษย์ไปใช้ มีประสบการณ์ทางด้านหนังเหนียวคงกระพันชาตรี แคล้วคลาดจากอาวุธ ของมีคม จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของคนในพื้นที่ และแม้กระทั่งคนต่างถิ่นแดนไกล ที่ได้ตระกุดของท่านไปไว้บูชา การสร้างเหรียญรุ่นดังกล่าวโดยการดำเนินการของคุณสง่า พงษ์ศิลป์ เป็นผู้ติดต่อประสานงานดำเนินการโดยมีพรรคพวกเพื่อนฝูงที่กรมศิลปากร ขณะนั้นเป็นผู้ช่วยออกแบบ และครูบา จันต๊ะ อนาวิโล เป็นผู้ลงอักขระภาษาล้านนา ในบล็อกแม่พิมพ์ของเหรียญที่สร้าง โดยมีวัตถุประสงค์การสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระนางเจ้าจามเทวีปฐม กษัตริรีแห่งนครหริภุญชัย ในโอกาสสร้างวัดหนองช้างคืน ครบรอบ ๗๐๐ ปี และเพื่อเป็นการหาเงินไว้ตั้งเป็นกองทุนมูลนิธิวัดหนองช้างคืน ลักษณะของเหรียญเป็นรูปวงกลมรีมีห่วงในตัว เนื้อทองเหลืองเคลือบผิวสีเงิน จำนวนเหรียญที่สร้างมีทั้งหมดจำนวน ๓,๐๐๐ เหรียญ เกจิอาจารย์ที่ปลุกเสกเท่าที่พอจะจำชื่อได้ก็คือ ครูบาพรหมา พรหมจักโก วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ.ป่าซาง จ.ลำพูน, ครูบาชุ่ม โพธิโกวัดชัยมงคล (วังมุย), ครูบาจันต๊ะ อนาวิโล, ครูบาเสาร์ ปัญโญ เจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ในขณะนั้น, พระญาณมงคล เจ้าคณะ จังหวัดลำพูนวัดมหาวัน เป็นต้น การปลุกเสกนั้นได้จัดพิธีกรรมตามประเพณีเมืองเหนือล้านนา โดยมีการบวงสรวง อัญเชิญดวงพระวิญญาณ ของพระนางเจ้าจามเทวี โดยพิธีพราหมณ์ โดยมีการนั่งปรกตลอดคืน จนกระทั่งถึงรุ่งเช้า การเปิดให้เช่าบูชาสำหรับผู้สนใจขณะนั้นองค์ละ ๑๐ บาท ยังไม่ค่อยจะมีผู้สนใจเลย ทั้งนี้เป็นเพราะขาดการประชาสัมพันธ์เนื่องจากขาดสื่อในการโฆษณา ซึ่งตรงกันข้ามกับสมัยปัจจุบันราวขาวกับดำ จึงทำให้เป็นเหตุขาดคนสนใจในการเช่าบูชา จะมีก็เฉพาะแต่คนในท้องถิ่นเท่านั้น ที่เช่าบูชากันไว้คนละ ๑-๒ เหรียญ เพื่อเก็บไว้ให้ลูกให้หลานเท่านั้น เหรียญดังกล่าวเริ่มขยับราคาในหมู่นักนิยมสะสมเหรียญคณาจารย์หรือหมู่เซียน เมื่อมีผู้ได้พบกับประสบการณ์แคล้วคลาดปลอดภัยจากอุบัติเหตุเมื่อเดินทาง โดยสารรถยนต์ทัวร์ อย่างเหลือเชื่อ จำนวนนับครั้งไม่ถ้วน เมตตามหานิยม ค้าง่ายขายคล่อง ให้โชคลาภ ลูกเจ้าแม่จามเทวีต้องเก็บครับ

 
     
โดย : แจ็คเชียงดาว   [Feedback +1 -0] [+0 -0]   Mon 12, Dec 2016 17:22:00
 




 

 

เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒ การ สร้างเหรียญพระนางจามเทวีดังกล่าวเป็นความคิดริเริ่มของนายสง่า พงษ์ศิลป์ อดีตข้าราชการกรมทางรถไฟ ซึ่งขณะนั้นเป็นเขยบ้านหนองช้างคืน และโดยความเห็นชอบจากครูบาจันต๊ะ อนาวิโล ซึ่งขณะนั้นเป็นรองเจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ซึ่งทานเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีลูกศิษย์ลูกหาอยู่ทั่วไปและมีชื่อเสียงโด่ง ดังทางด้านการทำตระกรุด แจกจ่ายให้ลูกศิษย์ไปใช้ มีประสบการณ์ทางด้านหนังเหนียวคงกระพันชาตรี แคล้วคลาดจากอาวุธ ของมีคม จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของคนในพื้นที่ และแม้กระทั่งคนต่างถิ่นแดนไกล ที่ได้ตระกุดของท่านไปไว้บูชา การสร้างเหรียญรุ่นดังกล่าวโดยการดำเนินการของคุณสง่า พงษ์ศิลป์ เป็นผู้ติดต่อประสานงานดำเนินการโดยมีพรรคพวกเพื่อนฝูงที่กรมศิลปากร ขณะนั้นเป็นผู้ช่วยออกแบบ และครูบา จันต๊ะ อนาวิโล เป็นผู้ลงอักขระภาษาล้านนา ในบล็อกแม่พิมพ์ของเหรียญที่สร้าง โดยมีวัตถุประสงค์การสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระนางเจ้าจามเทวีปฐม กษัตริรีแห่งนครหริภุญชัย ในโอกาสสร้างวัดหนองช้างคืน ครบรอบ ๗๐๐ ปี และเพื่อเป็นการหาเงินไว้ตั้งเป็นกองทุนมูลนิธิวัดหนองช้างคืน ลักษณะของเหรียญเป็นรูปวงกลมรีมีห่วงในตัว เนื้อทองเหลืองเคลือบผิวสีเงิน จำนวนเหรียญที่สร้างมีทั้งหมดจำนวน ๓,๐๐๐ เหรียญ เกจิอาจารย์ที่ปลุกเสกเท่าที่พอจะจำชื่อได้ก็คือ ครูบาพรหมา พรหมจักโก วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ.ป่าซาง จ.ลำพูน, ครูบาชุ่ม โพธิโกวัดชัยมงคล (วังมุย), ครูบาจันต๊ะ อนาวิโล, ครูบาเสาร์ ปัญโญ เจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ในขณะนั้น, พระญาณมงคล เจ้าคณะ จังหวัดลำพูนวัดมหาวัน เป็นต้น การปลุกเสกนั้นได้จัดพิธีกรรมตามประเพณีเมืองเหนือล้านนา โดยมีการบวงสรวง อัญเชิญดวงพระวิญญาณ ของพระนางเจ้าจามเทวี โดยพิธีพราหมณ์ โดยมีการนั่งปรกตลอดคืน จนกระทั่งถึงรุ่งเช้า การเปิดให้เช่าบูชาสำหรับผู้สนใจขณะนั้นองค์ละ ๑๐ บาท ยังไม่ค่อยจะมีผู้สนใจเลย ทั้งนี้เป็นเพราะขาดการประชาสัมพันธ์เนื่องจากขาดสื่อในการโฆษณา ซึ่งตรงกันข้ามกับสมัยปัจจุบันราวขาวกับดำ จึงทำให้เป็นเหตุขาดคนสนใจในการเช่าบูชา จะมีก็เฉพาะแต่คนในท้องถิ่นเท่านั้น ที่เช่าบูชากันไว้คนละ ๑-๒ เหรียญ เพื่อเก็บไว้ให้ลูกให้หลานเท่านั้น เหรียญดังกล่าวเริ่มขยับราคาในหมู่นักนิยมสะสมเหรียญคณาจารย์หรือหมู่เซียน เมื่อมีผู้ได้พบกับประสบการณ์แคล้วคลาดปลอดภัยจากอุบัติเหตุเมื่อเดินทาง โดยสารรถยนต์ทัวร์ อย่างเหลือเชื่อ จำนวนนับครั้งไม่ถ้วน เมตตามหานิยม ค้าง่ายขายคล่อง ให้โชคลาภ ลูกเจ้าแม่จามเทวีต้องเก็บครับ

 

เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒ การ สร้างเหรียญพระนางจามเทวีดังกล่าวเป็นความคิดริเริ่มของนายสง่า พงษ์ศิลป์ อดีตข้าราชการกรมทางรถไฟ ซึ่งขณะนั้นเป็นเขยบ้านหนองช้างคืน และโดยความเห็นชอบจากครูบาจันต๊ะ อนาวิโล ซึ่งขณะนั้นเป็นรองเจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ซึ่งทานเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีลูกศิษย์ลูกหาอยู่ทั่วไปและมีชื่อเสียงโด่ง ดังทางด้านการทำตระกรุด แจกจ่ายให้ลูกศิษย์ไปใช้ มีประสบการณ์ทางด้านหนังเหนียวคงกระพันชาตรี แคล้วคลาดจากอาวุธ ของมีคม จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของคนในพื้นที่ และแม้กระทั่งคนต่างถิ่นแดนไกล ที่ได้ตระกุดของท่านไปไว้บูชา การสร้างเหรียญรุ่นดังกล่าวโดยการดำเนินการของคุณสง่า พงษ์ศิลป์ เป็นผู้ติดต่อประสานงานดำเนินการโดยมีพรรคพวกเพื่อนฝูงที่กรมศิลปากร ขณะนั้นเป็นผู้ช่วยออกแบบ และครูบา จันต๊ะ อนาวิโล เป็นผู้ลงอักขระภาษาล้านนา ในบล็อกแม่พิมพ์ของเหรียญที่สร้าง โดยมีวัตถุประสงค์การสร้างเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระนางเจ้าจามเทวีปฐม กษัตริรีแห่งนครหริภุญชัย ในโอกาสสร้างวัดหนองช้างคืน ครบรอบ ๗๐๐ ปี และเพื่อเป็นการหาเงินไว้ตั้งเป็นกองทุนมูลนิธิวัดหนองช้างคืน ลักษณะของเหรียญเป็นรูปวงกลมรีมีห่วงในตัว เนื้อทองเหลืองเคลือบผิวสีเงิน จำนวนเหรียญที่สร้างมีทั้งหมดจำนวน ๓,๐๐๐ เหรียญ เกจิอาจารย์ที่ปลุกเสกเท่าที่พอจะจำชื่อได้ก็คือ ครูบาพรหมา พรหมจักโก วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ.ป่าซาง จ.ลำพูน, ครูบาชุ่ม โพธิโกวัดชัยมงคล (วังมุย), ครูบาจันต๊ะ อนาวิโล, ครูบาเสาร์ ปัญโญ เจ้าอาวาสวัดหนองช้างคืน ในขณะนั้น, พระญาณมงคล เจ้าคณะ จังหวัดลำพูนวัดมหาวัน เป็นต้น การปลุกเสกนั้นได้จัดพิธีกรรมตามประเพณีเมืองเหนือล้านนา โดยมีการบวงสรวง อัญเชิญดวงพระวิญญาณ ของพระนางเจ้าจามเทวี โดยพิธีพราหมณ์ โดยมีการนั่งปรกตลอดคืน จนกระทั่งถึงรุ่งเช้า การเปิดให้เช่าบูชาสำหรับผู้สนใจขณะนั้นองค์ละ ๑๐ บาท ยังไม่ค่อยจะมีผู้สนใจเลย ทั้งนี้เป็นเพราะขาดการประชาสัมพันธ์เนื่องจากขาดสื่อในการโฆษณา ซึ่งตรงกันข้ามกับสมัยปัจจุบันราวขาวกับดำ จึงทำให้เป็นเหตุขาดคนสนใจในการเช่าบูชา จะมีก็เฉพาะแต่คนในท้องถิ่นเท่านั้น ที่เช่าบูชากันไว้คนละ ๑-๒ เหรียญ เพื่อเก็บไว้ให้ลูกให้หลานเท่านั้น เหรียญดังกล่าวเริ่มขยับราคาในหมู่นักนิยมสะสมเหรียญคณาจารย์หรือหมู่เซียน เมื่อมีผู้ได้พบกับประสบการณ์แคล้วคลาดปลอดภัยจากอุบัติเหตุเมื่อเดินทาง โดยสารรถยนต์ทัวร์ อย่างเหลือเชื่อ จำนวนนับครั้งไม่ถ้วน เมตตามหานิยม ค้าง่ายขายคล่อง ให้โชคลาภ ลูกเจ้าแม่จามเทวีต้องเก็บครับ

 

 
โดย : แจ็คเชียงดาว    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 1 ] Mon 12, Dec 2016 17:22:32

 
เหรียญ พระนางจามเทวี รุ่นแรก ปี ๒๕๑๒ : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.